รถยนต์พลังงาน ไฟฟ้า กลายเป็นอีกตัวเลือกสำหรับประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา

รถยนต์พลังงาน ไฟฟ้า

รถยนต์พลังงาน ไฟฟ้า กำลังจะกลายเป็นรถประจำตำแหน่งของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาเพิ่งปิดฉากไปเมื่อไม่กี่เดือน  ทราบผลแล้วว่าผู้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนต่อไปคือ“โจ ไบเดน”การดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีในครั้งนี้มีการเปลี่ยนแปลงในหลายๆ  ด้าน  ทั้งเปลี่ยนระบบแผนการทำงานอันล้มเหลวของรัฐบาลของประธานาธิบดีคนก่อนชนิดที่  “เปลี่ยนยกแผง”  จนทำให้สหรัฐอเมริกาเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในประวัติศาสตร์ 

รวมถึงรถยนต์ประจำตำแหน่งประธานาธิบดีที่เปลี่ยนจากรถยนต์ที่ใช้กลไกแบบเครื่องยนต์สันดาปพลังงาน  เป็นใช้ระบบไฟฟ้าเต็มรูปแบบ  และเป็นสมัยแรกที่ใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้าอย่างเป็นทางการ  และที่สำคัญ  รถยนต์พลังงานไฟฟ้ารวมถึงรถยนต์ประจำตำแหน่งจะต้องเป็นฝีมือชาวอเมริกันเท่านั้น  เรามาวิเคราะห์กันว่า  ถ้าหากมีการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าขึ้นจริง  และรถยนต์ประจำตำแหน่งต้องเปลี่ยนรูปแบบทั้งหมด  จะเกิดอะไรขึ้นกับชาวอเมริกัน  และคนทั้งโลกขึ้นจริงๆ

รถยนต์พลังงาน ไฟฟ้า-อาคาร

คิดถูกหรือไม่! โจ ไบเดนต้องการเปลี่ยนรถประจำตำแหน่งเป็น รถยนต์พลังงาน ไฟฟ้า

ใครไม่อยากพลาดข่าวสารดีๆและอุตสาหกรรมรถยนต์อย่าลืมติดตาม siambmw.com เว็บไซต์ของคนรักรถและใครที่กำลังมองหาช่องทางสร้างรายได้พิเศษเราขอแนะนำ ufa999 ช่องทางหารรายได้พิเศษในการเล่นเกม

รถยนต์พลังงาน ไฟฟ้า-ชาตร์ไฟ

คำตอบคือ  มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น 100%  เนื่องจากรัฐบาลของประธานาธิบดีคนก่อนอย่าง  “โดนัลด์  ทรัมป์”  ไม่สนใจด้านสิ่งแวดล้อม  มองชาวอเมริกันเป็นอันดับแรกในเรื่องภาษี  และเอื้อต่อนายทุน  พอมายุคของ  “โจ  ไบเดน”  ทำให้การผลิตอุตสาหกรรมรถยนต์เปลี่ยนแปลง  แม้ว่าจะยังไม่เริ่มต้นว่าจะทำรถยนต์ประจำตำแหน่งเมื่อใด

รถยนต์พลังงาน ไฟฟ้า-รถพลังงานไฟฟ้า
  • ปัญหารถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์ที่มีในอเมริกา  จะถูกยกเลิก  การทำสัมปทานน้ำมันจะเกิดปัญหาครั้งใหญ่ในกลุ่มนายทุน  เนื่องจากหลายค่ายรถยนต์ค่ายดังอย่าง  Tesla,  Ford,  Nissan,  GM  และค่ายรถยนต์ค่ายอื่นที่เป็นค่ายที่มีฐานผลิตในประเทศ  ต้องปรับตัวครั้งใหญ่ชนิดที่พลิกหน้าประวัติศาสตร์ด้านอุตสาหกรรมรถยนต์เลยทีเดียว  โอกาสขัดแย้งระหว่างนายทุนกับผู้ถือหุ้นปั๊มน้ำมันจะเกิดปัญหามากขึ้น  เนื่องจาก  “โจ  ไบเดน”  ต้องการผลักดันให้เป็นประเทศปลอดคาร์บอนไดออกไซด์
  • การผลิตรถยนต์ไฟฟ้ารวมถึงรถประจำตำแหน่ง  ย่อมมีดาบสองคม  แน่นอนคือเป็นการป้องกันมลพิษจากควันรถยนต์ในทุกๆ  รัฐของสหรัฐอเมริกา  และอาจจะส่งผลต่อทั่วโลกในอนาคต  ลดการใช้พลังงานสิ้นเปลืองในกลุ่มน้ำมันเชื้อเพลิง  แต่การหันมาใช้ระบบไฟฟ้าแม้เหมือนพลังงานสะอาด  แต่เหมือนกับลดพลังงานอีกอย่างเพื่อมาสิ้นเปลืองอีกอย่างนั่นเอง  เช่น  ต้องการลดควัน  ลดมลพิษทางอากาศ  แต่พลังงานไฟฟ้าสร้างก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากกว่า  แม้ว่าจะไม่มีควันชัดเจนก็ตาม
  • ค่ายรถยนต์หลายค่ายที่เริ่มปรับเปลี่ยน  ทำให้ส่งผลต่อการผลิตรถยนต์ในประเทศอื่นๆ  ที่อยู่ในเครือ  เช่น  ในประเทศไทยเริ่มมีข่าวของ  Tesla  เรื่องการทำรถยนต์เป็นพลังงานไฟฟ้า  แต่ยังนำเข้าไม่กี่คันและยังอยู่ระหว่างแบบเครื่องยนต์กับแบบ  Hybrid  อยู่  ส่วนในประเทศญี่ปุ่นเริ่มพัฒนาระบบเพื่อแข่งกับตลาดรถยนต์ทั่วโลกมากขึ้น  โดยเฉพาะออกแบบรถยนต์พลังงานไฟฟ้าแข่งขันกันในตลาดรถยนต์
  • ผู้ที่ใช้รถยนต์แบบเดิมจะเสียเปรียบมาก  เนื่องจากต้องมีการปรับตัวในชีวิตประจำวัน  อีกทั้งต้องมีการศึกษาเรื่องการออกรถต่อคันใช้กี่ดอลลาร์สหรัฐ  ซึ่งอาจส่งผลต่อรถประจำตำแหน่งในภายหลัง